Use APKPure App
Get ฟิลเตอร์กลางคืน old version APK for Android
ถนอมดวงตาของคุณและนอนหลับสบายด้วยฟิลเตอร์กรองแสงสีฟ้าที่ดีที่สุด
แสงสีฟ้าจากหน้าจอมือถือคือสาเหตุที่ทำให้ดวงตาของคุณอ่อนล้า แสงสีฟ้ารบกวนการนอนหลับและเป็นอันตรายต่อดวงตา ฟังก์ชั่นขอโหมดกลางคืนผ่านการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์แล้วว่าสามารถช่วยลดผลกระทบจากแสงสีฟ้าได้จริง การปรับแสงหน้าจอให้อ่อนลงช่วยลดภาวะดวงตาอ่อนล้า ช่วยให้นอนหลับสนิท และเพิ่มประสิทธิภาพการมองเห็นของคุณ ฟรี 100% และช่วยถนอมดวงตาได้อย่างมีประสิทธิภาพ!
คุณสมบัติ
√ฟิลเตอร์กลางคืนเปลี่ยนหน้าจอของคุณเป็นแสงที่ดูอบอุ่นเป็นธรรมชาติยิ่งขึ้น
√ช่วยให้คุณนอนได้นานขึ้นอีกหนึ่งชั่วโมง
√ปกป้องดวงตาของคุณ 24 ชั่วโมงพร้อมโปรแกรมตั้งเวลาอัตโนมัติ
√ช่วยรักษาสภาพการใช้งานดวงตาให้มีสุขภาพดีอยู่เสมอ
√ประหยัดแบตเตอรี่ถึง 15%
√นอนหลับได้ดีขึ้นโดยการลดแสงสีฟ้า
√ผ่อนคลายความอ่อนล้าของดวงตาได้ภายในคลิกเดียว
√มีให้เลือกหลายสี
แสงสีฟ้าคืออะไร
แสงสีฟ้าคือ สเปกตรัมของแสงที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (380-550nm) ซึ่งใช้ในระบบนาฬิกาชีวภาพ และเป็นแสงที่มีพลังงานมากกว่าแสงที่สามารถมองเห็นได้ชนิดอื่น ดังนั้นจึงอาจเป็นอันตรายต่อเซลล์ในเรตินา
ทำไมจึงควรใช้ตัวกรองแสงสีฟ้า
ผลวิจัยระบุว่า การจ้องมองแสงสีฟ้าอาจเป็นอันตรายร้ายแรงต่อเซลล์ประสาทตา ทำให้เกิดภาวะตาล้า ตาแห้ง และไปยับยั้งการหลั่งเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ทำให้เกิดนาฬิกาชีวภาพ ด้วยฟังก์ชั่นของโหมดกลางคืน สุขภาพตาของคุณจะดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
ตัวกรองแสงสีฟ้าช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้นหรือไม่
ช่วยได้ การจ้องมองแสงสีฟ้าโดยธรรมชาติจะช่วยกระตุ้นพลังงาน ทำให้ร่างกายตื่นตัวและอารมณ์ดีในช่วงเวลากลางวัน แต่แสงสีฟ้าจะรบกวนการนอนหลับในช่วงเวลากลางคืน (จาก Wiki) ตัวกรองแสงสีฟ้าจะช่วยลดแสงสีฟ้าจากหน้าจออย่างมีประสิทธิภาพและช่วยให้คุณนอนหลับได้ดียิ่งขึ้น
การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
1. Steven W. Lockley, George C. Brainard, Charles A. Czeisler. “High Sensitivity of the Human Circadian Melatonin Rhythm to Resetting by Short Wavelength Light”. J Clin Endocrinol Metab. 2003 Sep;88(9):4502-5.
2. Burkhart K, Phelps JR. “AMBER LENSES TO BLOCK BLUE LIGHT AND IMPROVE SLEEP: A RANDOMIZED TRIAL”. Chronobiol Int. 2009 Dec;26(8):1602-12.
3. ----“Effects of blue lights technology”. https://en.wikipedia.org/wiki/Effects_of_blue_lights_technology
4. “How exposure to blue light affects your brain and body”. Nature Neuroscience; Harvard Health Publications; ACS, Sleep Med Rev, American Macular Degeneration Foundation; European Society of Cataract and Refractive Surgeons; JAMA Neurology
Last updated on Jan 27, 2019
Minor bug fixes and improvements. Install or update to the newest version to check it out!
อัปโหลดโดย
Abhi Abhijith
ต้องใช้ Android
Android 4.2+
Category
รายงาน